ทำไมถึงไม่ใช้รองเท้าเซฟตี้ ?
-กระแสไฟฟ้าสามารถกระโดด (ไฟอาร์ค) ได้ 40 มม. 5000 โวลต์
-พื้นรองเท้าเซฟตี้ทั่วไปมีความหนาน้อยกว่า 10 มม. และ
ทาจากวัสดุที่กันได้แค่ไฟฟ้าสถิตย์ ไม่สามารถกันไฟฟ้าได้
-รองเท้าเซฟตี้เมื่อโดนน้าจะนาไฟฟ้าได้ ซึ่งรวมถึงวัสดุกันน้า
เช่น หนังกันน้า เป็นต้น ซึ่งสามารถเกิดความเสียหายได้ง่าย
-เหงื่ออาจทาให้หนังรองเท้าเกิดความชื้นที่เพียงพอจนไม่ผ่าน
การทดสอบ EN 50321
-นี่คือเหตุผลที่ EN 50321 ระบุความสูงของรองเท้าบูทหรือ
รองเท้าเซฟตี้ และเท้าควรอยู่ภายในรองเท้า
Dielectric Boots vs Protective Matting
รองเท้าป้องกันไฟฟ้าถือเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (PPE) การใช้รองเท้าบูทป้องกันไฟฟ้าหากเป็นไปได้ควรใช้ร่วมกันกับถุงมือป้องกันไฟฟ้า อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้า และแผ่นฉนวนป้องกันไฟฟ้า มาตรฐานถุงมือกันไฟฟ้าอยู่ระดับเดียวกับรองเท้าบูทกันไฟฟ้า EN 50321-1:2018 ถุงมือเป็นส่วนแรกที่ต้องไปสัมผัสกับอุปกรณ์ที่เป็นอันตรายไฟฟ้าแรงสูง
แผ่นฉนวนป้องกันไฟฟ้าถูกใช้บ่อยในพื้นที่การทางานที่เป็นอันตราย อย่างไรก็ตามการใช้แผ่นฉนวนกันไฟฟ้าปูตามพื้นที่ที่เป็นอันตรายก็มีข้อจากัด เนื่องจากแผ่นฉนวนนั้นมีน้าหนักที่มากจึงทาให้การเคลื่อนย้ายเป็นไปได้ยากและเพิ่มความเสี่ยงของคนงานที่ไม่ได้ใช้อุปกรณ์ ถ้าหากมีสิ่งของร่วงหล่นลงมาจากด้านบนอาจทาให้คนงานต้องหลบของที่กาลังหล่นใส่ทาให้ขาออกไปข้างนอกแผ่นฉนวนซึ่งเสี่ยงต่อการได้รับอันตราย การสวมใส่รองเท้ากันไฟฟ้าทาให้คนงานมีอิสระในการเคลื่อนไหวอย่างเต็มที่มากกว่ากว่าที่ถูกจากัดพื้นที่ในการทางานด้วยแผ่นฉนวนกันไฟฟ้า ด้วยเหตุผลนี้ควรใส่รองเท้ากันไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลาเมื่อคุณใช้แผ่นฉนวนกันไฟฟ้า เพื่อเป็นการปกป้องตัวคุณให้มากยิ่งขึ้น
สีเหลืองสว่างและสีเขียวเป็นสีของรองเท้าป้องกันไฟฟ้าที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนต่อผู้พบเห็น
เราจะใช้รองเท้าป้องกันไฟฟ้าที่ไหน?
-เครื่องผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้า
-ระบบการขนส่งด้วยไฟฟ้า เช่น รถไฟฟ้า
-บริษัทที่ต้องทางานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า หรือการตัดสายไฟฟ้า
-สถานีไฟฟ้าย่อย
-ทุ่งกันหันลม
-โรงงานที่มีการทางานเกี่ยวกับการเดินระบบไฟฟ้า
ทดสอบรองเท้าบูทกันไฟฟ้าอย่ำงไร?
ผู้ผลิตจะต้องทดสอบรองเท้าป้องกันไฟฟ้าทุกชิ้นตามมาตรฐาน EN 50321-1:2018 การทดสอบเกี่ยวข้องกับการนารองเท้าบูทไปวางลงบนอ่างน้าที่มีน้าอยู่แล้วใส่ขั้วอิเล็กโทรด 1 อัน ไปข้างในรองเท้าส่วนอีกอันถูกต่อเข้ากับโลหะบนขอบอ่าง การทดสอบแรงดันไฟฟ้ารองเท้าบูทได้รับการทดสอบกับกระแสไฟฟ้าที่รั่วไหลภายใต้ความดันไฟฟ้าที่เหมาะสม การทดสอบได้ถูกแบ่งออกเป็นตาม Class Rating (ดูได้จากตารางข้างล่าง) เป็นระยะเวลา 3 นาที กระแสไฟฟ้าที่รั่วไหลต้องไม่มากเกินค่าสูงสุดที่ได้รับอนุญาตของแต่ละ Class Rating สาหรับรองเท้าบูทที่ผ่านการรับรองจะถูกทดสอบเพื่อทนต่อแรงดันไฟฟ้า
การทดสอบรองเท้าบูทกันไฟฟ้าของ Workmaster™ แบบมาตรฐานด้วยกระแสสลับ(AC) แต่การทดสอบกระแสตรง(DC) จะมีให้ตามคาขอ
การทดสอบรองเท้ากันไฟฟ้าซ้ำอีกครั้ง
มีคนจานวนไม่มากที่ตระหนักถึงมาตรฐานรองเท้าป้องกันไฟฟ้า EN 50321-1:2018 ว่าต้องมีการทดสอบใหม่ของรองเท้าป้องกันไฟฟ้าทุกปี
รองเท้าป้องกันไฟฟ้าทุกคู่ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน EN 50321 ระหว่างการผลิต การทดสอบการต้านทานแรงดันไฟฟ้าควรทาเป็นประจาทุกปี เมื่อทาการทดสอบเสร็จควรตรวจดูอย่างละเอียดและนี่คือส่วนหนึ่งของวิธีการทดสอบรองเท้าป้องกันไฟฟ้า
การทดสอบการต้านทานแรงดันไฟฟ้าจะทาโดยเติมน้าไปในรองเท้าให้สูง 4 ซม. และนาไปจุ่มลงในอ่างน้าที่มีระดับเดียวกันทั้งภายในรองเท้าและภายนอกรองเท้า โพรบไปอยู่ในรองเท้าบูทแล้ววงจรไฟฟ้านั้นก็จะเสร็จอย่างสมบูรณ์โดยผ่านสายดินอิเล็กโทรดที่อยู่ภายในอ่างน้า
สาหรับการทดสอบ Class 0 จะต้องใช้แรงดันไฟฟ้า 5 kV. เป็นเวลา 3 นาที และกระแสไฟฟ้าต้องผ่านโพรบไม่น้อยกว่า 5 mA.